16 พฤษภาคม 2555

บทบาทของโรงเรียนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา

บทบาทของโรงเรียนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา(One Taplet Per Child)
1. โรงเรียนเตรียมความพร้อมในโรงเรียน เช่น ห้องเรียน ระบบไฟฟ้า ระบบอินเตอร์เน็ต
2. ชี้แจงทำความเข้าใจแก่ ครู นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และผู้ปกครอง เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการเรียนการสอน และการฝึกอบรมทักษะการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเบื้องต้นแก่ครู นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคน
3. พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ให้เหมาะสมกับการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต
4. ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนร่วมกันจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเป็นเครื่องมือช่วย ในการจัดการเรียนการสอนใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
5. อบรมครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนได้รับการอบรมให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการเรียนการสอน
6. ครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้
7. ครูทดสอบความสามารถของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต ในการจัดการเรียนรู้เป็นระยะ ๆ และต้องพัฒนาปรับปรุงความสามารถของนักเรียนให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

One Taplet Per Child

บทบาทของสำนักงานเขตพื้นที่ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา


(One Taplet Per Child)

20 มกราคม 2555

ตัวบ่งชี้ระดับพื้นฐาน สมศ.รอบ3

ตัวบ่งชี้ที่1ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่2ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่3ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ที่4ผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น
ตัวบ่งชี้ที่5ผลสัมฤทธฺทางการเรียนของผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ที่6ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ที่7ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่8พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด
ตัวบ่งชี้ที่9ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่10ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่ง ผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี่ที่11ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม บทบาทของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี่ที่12ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

19 มกราคม 2555

ตัวบ่งชี้ระดับปฐมวัย สมศ.รอบ3

ตัวบ่งชี้ที่1เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่2เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่3เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่4เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย
ตัวบ่งชี้ที่5เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป
ตัวบ่งชี้ที่6ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ที่7ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่8พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด
ตัวบ่งชี้ที่9ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่10ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่ง ผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี่ที่11ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม บทบาทของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี่ที่12ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

คำใหม่ในการประเมินคุณภาพรอบ3

อัตลักษณ์หมายถึงคุณลักษณะผู้เรียนที่เกิดขึ้นตามการดำเนินงานของสถานศึกษาตามปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ของโรงเรียน พบว่ามีความถูกต้องชัดเจน ไม่กว้างเกินไปส่วนใหญ่เน้นที่คุณธรรมง่ายแล้วกำหนดตัวช้วัดย่อยๆ อันเป็นคุณลักษณะง่ายที่ผู้เรียนปฏิบัติได้ เช่น ความพอเพียงผู้เรียนจะมีคุณลักษณะขยัน อดออม ความรับผิดชอบจะมีคุณลักษณะไม่มาเรียนสาย ส่งงานตรงเวลา ซึ่งครูผู้สอนเองก็มีลักษณเช่นเดียวกัน
เอกลักษณ์ความสำเร็จของสถานศึกษา ของนักเรียน ครู ผู้บริหาร ทางใดทางหนึ่ง เช่น ด้านกีฬา ดนตรี หรืออาจเป็นสถานที่ บรรยากาศ